
บทบาทของครู
- ตำแหน่งการนั่งของเด็กไม่ควรให้นั่งติดหน้าต่างหรือประตู
- ให้เด็กนั่งแถวหน้าสุดใกล้โต๊ะครู
- จัดให้เด็กนั่งติดกับนักเรียนที่ไม่ค่อยเล่น ไม่ค่อยคุยในระหว่างเรียน
- ให้เด็กมีกิจกรรม เปลี่ยนอิริยาบถบ้าง
การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
1. ทักษะทางสังคม
- ตำแหน่งการนั่งของเด็กไม่ควรให้นั่งติดหน้าต่างหรือประตู
- ให้เด็กนั่งแถวหน้าสุดใกล้โต๊ะครู
- จัดให้เด็กนั่งติดกับนักเรียนที่ไม่ค่อยเล่น ไม่ค่อยคุยในระหว่างเรียน
- ให้เด็กมีกิจกรรม เปลี่ยนอิริยาบถบ้าง
การกระตุ้นการเลียนแบบและการเอาอย่าง
- สังเกตเด็กเป็นระบบ
- เรียนรู้โดยการเลียนแบบเพื่อน ทำท่าทางตาม
ครูปฏิบัติอย่างไรขณะเด็กเล่น
- ครูปฏิบัติพยายามสบตา ยิ้มให้ พูดกับเด็กเสมอ ไม่ควรชมผลงานหรือชมเกินเหตุ ควรชมที่การกระทำ จากการพยามยามตั้งใจทำ และชมด้วยเรื่องอะไร
- การเล่นไม่ควรเทกระจาด
การให้แรงเสริมทางสังคมในบริบทที่เด็กเล่น
- ครูพูดชักชวนด้วยการ พูดนำของครู
![]() |
ตัวอย่างการชวนเด็กเข้าไปเล่นกับเพื่อน ^^ |
*เมื่อเด็กอยากเล่นกับเพื่อนควรทำอย่างไร
1. สังเกตเด็กพิเศษก่อนและเดินเข้าไปหา
2. เรียกชื่อเด็ก สัมผัสตัวเด็กเบาๆ
3. ถามเด็กว่า อยากเข้าไปเล่นกับเพื่อนไหมลูก? (ถ้าเด็กนิ่ง ให้ถามซ้ำบ่อยๆ ถ้าเด็กไม่พูดเหมือนเดิมให้พาเข้าไปเล่นกับเพื่อน)
4. ก่อนที่จะพาเด็กเข้าไปเล่นนั้น ควรสร้างความน่าสนใจเพื่อให้เด็กคนอื่นอยากเล่นด้วย โดยการนำของเล่นให้เด็กถือเข้าไปด้วย
5. เมื่อเข้าไปแล้ว ให้พูดกับเด็กคนอื่น เช่น น้อง...อยากเล่นด้วย มีของเล่นมาให้เล่นด้วยนะลูก เป็นต้น
6. เมื่อเด็กเล่นอยู่ ให้เล่นกับเด็กด้วยสักพักแล้วจึงออกมาได้
ช่วยเด็กทุกคนให้รู้กฎเกณฑ์
- ให้เด็กรู้กฎเกณฑ์ ไม่ควรให้สิทธิ์เด็กพิเศษมากกว่า
2. ทักษะภาษา
การออกเสียงผิด / พูดไม่ชัด
- การพูดตกหล่น - การใช้เสียงหนึ่งแทนเสียงหนึ่ง - การติดอ่าง
การปฏิบัติของครูและผู้ใหญ่
- ไม่สนใจการพูดซ้ำ
- ห้ามบอกเด็กให้พูดช้าๆ
- อย่าขัดจังหวะการพูดของเด็ก
- อย่าเปลี่ยนการใช้มือข้างถนัดของเด็ก
- ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็ก
- เด็กพูดไม่ชัดอาจเกี่ยวกับการได้ยิน
พฤติกรรมตอบสนองการแสดงออกทางภาษา
- ไม่สนใจการพูดซ้ำ
- ห้ามบอกเด็กให้พูดช้าๆ
- อย่าขัดจังหวะการพูดของเด็ก
- อย่าเปลี่ยนการใช้มือข้างถนัดของเด็ก
- ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็ก
- เด็กพูดไม่ชัดอาจเกี่ยวกับการได้ยิน
พฤติกรรมตอบสนองการแสดงออกทางภาษา
พฤติกรรมเริ่มการแสดงออกของเด็ก
การสอนตามเหตุการณ์ (Incidental Teaching)
1. สังเกตเด็กพิเศษก่อนและเดินเข้าไปหา
2. เรียกชื่อเด็ก สัมผัสตัวเด็กเบาๆ
3. ถามเด็กว่า น้อง...กำลังทำอะไรอยู่ลูก (ถ้าเด็กนิ่ง ให้ถามซ้ำบ่อยๆ ถ้าเด็กไม่พูดเหมือนเดิมให้จับมือเด็ก)
4. ก่อนที่จะช่วยเด็กทำอะไรนั้น สอนให้เด็กพูดตามแต่ละขั้นตอน เมื่อเสร็จแล้ว ให้ชมว่าน้อง...ทำ...เก่งมากเลย
3. ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากที่สุด
การกินอยู่
การเข้าห้องน้ำ
การแต่งตัว
กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน
การกินอยู่
การเข้าห้องน้ำ
การแต่งตัว
กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน
ช่วยเมื่อไหร่
- ไม่ช่วยเกินความจำเป็น ให้เด็กทำสิ่งที่สามารถทำได้เองหากให้เวลาทำ
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 2-3 ปี)
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 4-5 ปี)
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 5-6 ปี)
- ไม่ช่วยเกินความจำเป็น ให้เด็กทำสิ่งที่สามารถทำได้เองหากให้เวลาทำ
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 2-3 ปี)
ทักษะการช่วยเหลือตนเอง (อายุ 3-4 ปี)
ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง
- การย่อยงาน แบ่งเป็น ทำได้/ทำไม่ได้ เป็นการบอกลำดับขั้นตอน
- การย่อยงาน แบ่งเป็น ทำได้/ทำไม่ได้ เป็นการบอกลำดับขั้นตอน
ตัวอย่างการเข้าส้วม
- เข้าไปในห้องส้วม
- ดึงกางเกงลงมา
- ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
- ปัสสาวะหรืออุจจาระ
- ใช้กระดาษชำระเช็ดก้น
- ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
- กดชักโครกหรือตักน้ำราด
- ดึงกางเกงขึ้น
- ล้างมือ
- เช็ดมือ
- เดินออกจากห้องส้วม
* บอกแต่ละขั้นตอนอย่างละเอียดเสมอ
- เข้าไปในห้องส้วม
- ดึงกางเกงลงมา
- ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
- ปัสสาวะหรืออุจจาระ
- ใช้กระดาษชำระเช็ดก้น
- ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
- กดชักโครกหรือตักน้ำราด
- ดึงกางเกงขึ้น
- ล้างมือ
- เช็ดมือ
- เดินออกจากห้องส้วม
* บอกแต่ละขั้นตอนอย่างละเอียดเสมอ
สรุป
- ครูต้องพยายามให้เด็กทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง- ย่อยงานแต่ละอย่างเป็นขั้นๆ
- ความสำเร็จขั้นเล็กๆนำไปสู่ความสำเร็จทั้งมวล
- ช่วยให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง
- เด็กพึ่งตนเองได้ รู้สึกเป็นอิสระ
4. ทักษะพื้นฐานทางการเรียน
- การช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้
- มีความรู้สึกดีต่อตนเอง
- เด็กรู้สึกว่า “ฉันทำได้”
- พัฒนาความกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น
- อยากสำรวจ อยากทดลอง
การทำตามคำสั่ง คำแนะนำ
- เด็กได้ยินสิ่งที่ครูพูดชัดหรือไม่
- เด็กเข้าใจคำศัพท์ที่ครูใช้หรือไม่
- คำสั่งยุ่งยากซับซ้อนไปหรือไม่
การรับรู้ การเคลื่อนไหว
- ได้ยิน เห็น สัมผัส ลิ้มรส กลิ่น - ตอบสนองอย่างเหมาะสม
การควบคุมกล้ามเนื้อเล็ก
- การกรอกน้ำ ตวงน้ำ
- ต่อบล็อก
- ศิลปะ
- มุมบ้าน
- ช่วยเหลือตนเอง
ตัวอย่างอุปกรณ์สำหรับเด็กพิเศษ
![]() |
ลูกปัดไม้ขนาดใหญ่ |
![]() |
รูปต่อที่มีจำนวนชิ้นไม่มาก |
ความจำ
- จากการสนทนา
- เมื่อเช้าหนูทานอะไร
- แกงจืดที่เรากินใส่อะไรบ้าง
- จำตัวละครในนิทาน
- จำชื่อครู เพื่อน
- เล่นเกมทายของที่หายไป
การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
- จัดกลุ่มเด็ก
- เริ่มต้นเรียนรู้โดยใช้ช่วงเวลาสั้นๆ
- ให้งานเด็กแต่ละคนอย่างชัดเจนว่าต้องทำที่ไหน
- ติดชื่อเด็กตามที่นั่ง
- ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
- ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
- บันทึกว่าเด็กชอบอะไรที่สุด
- รู้ว่าเมื่อไหร่จะเปลี่ยนงาน
- มีอุปกรณ์ไว้สับเปลี่ยนใกล้มือ
- เตรียมทุกอย่างให้พร้อมก่อนเด็กมาถึง
- พูดในทางที่ดี
- จัดกิจกรรมให้เด็กได้เคลื่อนไหว
- ทำบทเรียนให้สนุก
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
- สามารถนำความรู้ไปใช้ในการเรียนการสอนสำหรับเด็กพิเศษได้ เพื่อให้ถูกต้องและเหมาะสม และเป็นประโยชน์ต่อเด็กและพัฒนาการของเด็ก
การประเมิน
ประเมินอาจารย์
- อาจารย์เข้ามาสอนตรงเวลา และอธิบายความรู้รายวิชาได้ชัดเจน มีการยกตัวอย่างในแต่ละเรื่องทำให้ภาพและเข้าใจได้ง่ายมากขึ้น ซึ่งอาจารย์จะนำความรู้เพิ่มเติมมาสอนอยู่เสมอ ระหว่างเรียนอาจารย์คอยให้คำแนะนำของนักศึกษา และรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา มีกิจกรรมให้ทำอย่างสนุกสนาน
ประเมินเพื่อน
- เพื่อนๆตั้งใจฟังและให้ความร่วมมือในการเรียน สนใจการเรียนและบันทึกเมื่ออาจารย์สอน อาจมีคุยกันบ้าง555แสดงความคิดเห็นและรับฟังกันและกัน และสนุกสนานในการเรียนการสอนเพราะอาจารย์จะยกตัวอย่างการเรียนที่น่าสนใจและแปลกใหม่เสมอค่ะ :D
ประเมินตนเอง
- ตั้งใจฟัง และจดบันทึกระหว่างเรียน ร่วมแสดงความคิดเห็นเมื่อครูมีคำถาม
ตอบคำถามได้ และเข้าใจเนื้อหาความรู้ได้ดีค่ะ

ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น